แบบทดสอบก่อนเรียน
สรุปแบบทดสอบ
0 of 10 questions completed
โจทย์คำถาม:
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
ข้อมูล
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การขยายพันธุ์พืช
เรื่องการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
รายวิชาการผลิตพืช รหัสวิชา ง30221 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
จำนวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนรวม 10 คะแนน ใช้เวลา 15 นาที
คำสั่ง ให้นักเรียนทำเครื่องหมายกากบาท (X) ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
You must specify a text.
|
คุณต้องข้อสอบให้เรียบร้อยก่อนจะเริ่มทำใหม่อีกครั้ง.
กำลังโหลดคำถาม...
คุณต้องสมัครสมาชคิและลงชื่อเข้าใช้งานก่อน.
คุณทำข้อสอบเสร็จสิ้นแล้ว, กดเพื่อเสร็จสิ้น:
ผลลัพธ์
ตอบถูก0 จาก 10 คะแนน
เวลาที่คุณใช้ไป :
Time has elapsed
คุณได้คะแนน 0 จาก 0 คะแนน, (0)
คะแนนเฉลี่ย |
|
คะแนนของคุณ |
|
หมวดหมู่
- ไม่มีหมวดหมู่ 0%
-
ผลแบบทดสอบก่อนเรียน นักเรียนได้ผลคะแนนดังนี้
เมื่อทราบผลคะแนนแล้วให้นักเรียนเริ่มศึกษาบทเรียน
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- คำตอบ
- รีวิว
-
ข้อที่ 1 จากทั้งหมด 10
1. คำถาม
ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีปัจจัยในข้อใดที่ต้องควบคุม
ถูก
ผิด
-
ข้อที่ 2 จากทั้งหมด 10
2. คำถาม
ไม้ดอกไม้ประดับในข้อใดนิยมใช้การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในการขยายพันธุ์
ถูก
ผิด
-
ข้อที่ 3 จากทั้งหมด 10
3. คำถาม
ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้องให้ความสำคัญข้อใดมากที่สุด
ถูก
ผิด
-
ข้อที่ 4 จากทั้งหมด 10
4. คำถาม
ข้อใดคือความหมายของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ถูก
ผิด
-
ข้อที่ 5 จากทั้งหมด 10
5. คำถาม
ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ถูก
ผิด
-
ข้อที่ 6 จากทั้งหมด 10
6. คำถาม
INIBAP หมายถึงองค์กรใด
ถูก
ผิด
-
ข้อที่ 7 จากทั้งหมด 10
7. คำถาม
จงอ่านข้อความด้านล่างและตอบคำถาม
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเกิดขึ้นเมื่อใด
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเริ่มต้นในปี ค.ศ.1902 โดย Haberlandt นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันได้ทำการแยกเซลล์พืชมาเลี้ยง เพื่อจะทำการศึกษาคุณสมบัติของเซลล์ แต่ยังไม่ประสบผลสำเร็จจนถึงระดับเซลล์มีการแบ่งตัว เพียงแต่พบว่าเซลล์มีการขยายขนาดขึ้นเท่านั้น ในปี ค.ศ.1930 ได้มีการพัฒนาการเลี้ยงเซลล์ที่แยกมาจากรากของพืชหลายชนิดโดยเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ ต่อมาในปี ค.ศ. 1938 สามารถเพาะเลี้ยงอวัยวะ( Organ ) และ แคลลัส ( Callus ) ของพืชได้หลายชนิดและนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชได้มีการพัฒนาไปได้อย่างกว้างขวาง และมีการค้นพบเทคนิคใหม่ๆอีกมากมาย ซึ่งสามารถทำการเพาะเลี้ยงพืชเซลล์เดี่ยวๆและโปรโตพลาสต์ของพืชได้หลายชนิด รวมทั้งการใช้เทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น การตัดต่อยีนส์ การถ่ายยีนส์ ฯลฯ เทคนิค การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชจึงมีบทบาทสำคัญต่อวิทยาการแขนงอื่นๆ เช่น ชีวเคมี พันธุศาสตร์ การปรับปรุงพันธุ์พืช โรคพืช และเภสัชศาสตร์ เป็นต้นถูก
ผิด
-
ข้อที่ 8 จากทั้งหมด 10
8. คำถาม
จงอ่านข้อความด้านล่างและตอบคำถาม
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อประสบผลสำเร็จเมื่อใด
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเริ่มต้นในปี ค.ศ.1902 โดย Haberlandt นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันได้ทำการแยกเซลล์พืชมาเลี้ยง เพื่อจะทำการศึกษาคุณสมบัติของเซลล์ แต่ยังไม่ประสบผลสำเร็จจนถึงระดับเซลล์มีการแบ่งตัว เพียงแต่พบว่าเซลล์มีการขยายขนาดขึ้นเท่านั้น ในปี ค.ศ.1930 ได้มีการพัฒนาการเลี้ยงเซลล์ที่แยกมาจากรากของพืชหลายชนิดโดยเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ ต่อมาในปี ค.ศ. 1938 สามารถเพาะเลี้ยงอวัยวะ( Organ ) และ แคลลัส ( Callus ) ของพืชได้หลายชนิดและนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชได้มีการพัฒนาไปได้อย่างกว้างขวาง และมีการค้นพบเทคนิคใหม่ๆอีกมากมาย ซึ่งสามารถทำการเพาะเลี้ยงพืชเซลล์เดี่ยวๆและโปรโตพลาสต์ของพืชได้หลายชนิด รวมทั้งการใช้เทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น การตัดต่อยีนส์ การถ่ายยีนส์ ฯลฯ เทคนิค การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชจึงมีบทบาทสำคัญต่อวิทยาการแขนงอื่นๆ เช่น ชีวเคมี พันธุศาสตร์ การปรับปรุงพันธุ์พืช โรคพืช และเภสัชศาสตร์ เป็นต้นถูก
ผิด
-
ข้อที่ 9 จากทั้งหมด 10
9. คำถาม
จงอ่านข้อความด้านล่างและตอบคำถาม
ข้อใดคือวัตถุประสงค์ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อครั้งครั้งแรก
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเริ่มต้นในปี ค.ศ.1902 โดย Haberlandt นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันได้ทำการแยกเซลล์พืชมาเลี้ยง เพื่อจะทำการศึกษาคุณสมบัติของเซลล์ แต่ยังไม่ประสบผลสำเร็จจนถึงระดับเซลล์มีการแบ่งตัว เพียงแต่พบว่าเซลล์มีการขยายขนาดขึ้นเท่านั้น ในปี ค.ศ.1930 ได้มีการพัฒนาการเลี้ยงเซลล์ที่แยกมาจากรากของพืชหลายชนิดโดยเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ ต่อมาในปี ค.ศ. 1938 สามารถเพาะเลี้ยงอวัยวะ( Organ ) และ แคลลัส ( Callus ) ของพืชได้หลายชนิดและนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชได้มีการพัฒนาไปได้อย่างกว้างขวาง และมีการค้นพบเทคนิคใหม่ๆอีกมากมาย ซึ่งสามารถทำการเพาะเลี้ยงพืชเซลล์เดี่ยวๆและโปรโตพลาสต์ของพืชได้หลายชนิด รวมทั้งการใช้เทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น การตัดต่อยีนส์ การถ่ายยีนส์ ฯลฯ เทคนิค การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชจึงมีบทบาทสำคัญต่อวิทยาการแขนงอื่นๆ เช่น ชีวเคมี พันธุศาสตร์ การปรับปรุงพันธุ์พืช โรคพืช และเภสัชศาสตร์ เป็นต้นถูก
ผิด
-
ข้อที่ 10 จากทั้งหมด 10
10. คำถาม
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเกิดขึ้นในรัชกาลใดของประเทศไทย
ถูก
ผิด